|
|
||||
|
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Cinamomum bejolghota (Buch.-Ham.) Sweet |
||||
วงศ์ : Lauraceae |
|||||
ชื่อสามัญ : - |
|||||
ชื่ออื่น : เชียกใหญ่ จวงดง เฉียด ฝนเสน่หา สมุลแว้ง มหาปราบ |
|||||
ลักษณะ : ไม้ต้นสูง 15 20 เมตร เรือนยอดเป็นพุ่มกลมรูปเจดีย์ต่ำ ทึบเปลือกเรียบสีเท่า แก่หรือเทาปนน้ำตาลใบเดี่ยวเรียงสลับรูปขอบขนานเนื้อใบหนาแข็งและกรอบ มีเส้นใบออกจากโคนใบ 3 เส้น ดอก เล็ก สีเหลืองอ่อนหรือเขียวอ่อน ออกรวมกันเป็นช่อโตตามปลายกิ่ง ผล เล็กรูปไข่กลับ เมล็ดมีเมล็ดเดียว |
|||||
นิเวศวิทยา : พบขึ้นกระจายในป่าดิบทั่วไป |
|||||
การขยายพันธุ์ : โดยเมล็ด |
|||||
ประโยชน์ : เนื้อไม้ มีกลิ่นหอมคล้ายการะบูน เนื้อหยาบแข็ง ค่อนข้างเหนียว ใช้ในการแกะสลักทำหีบใส่ของที่ป้องกันแมลงเครื่องเรือนไม้บุผนังที่สวยงาม รากและใบ ต้มให้หญิงที่คลอนใหม่ รับประทานและรักษาไข้ เปลือก มีรสหวานหอมใช้เข้ายานัตถุ์แก้ปวดศีรษะ เข้ายาบำรุงกำลัง แก้จุกแน่น ลงท้อง บำรุงดวงจิตใช้ปรุงเครื่องแกงเป็นเครื่องเทศ |
|||||
|
|||||
|