 |
ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกัน 3 ประการ ซึ่งเป็นองค์ประกอบในการสร้างโปรแกรม |
 |
|
|
|
อนุกรมวิธานพืช (Plant taxonomy)
การจำแนกพรรณไม้นั้นต้องอาศัย
วิชาพฤกษศาสตร์สาขาอนุกรมวิธานพืชเป็นหลักใหญ่
วิชาพฤกษศาสตร์ด้านนี้จึงเป็นความรู้พื้นฐานที่จำเป็นอย่างยิ่งที่จะนำไปใช้จำแนกพรรณไม้ได้
โดยเริ่มจากจำแนกแต่ละชนิดออกจากกันด้วยลักษณะต่างๆ
ขั้นตอนต่อไปคือการจัดเอาชนิดที่คล้ายคลึงกันหลายๆ
ชนิดมาไว้ในกลุ่มเดียวกัน (หรืออาจกล่าวได้ว่าอยู่ในสกุลเดียวกัน
จากนั้นจึงค่อยจัดเอาหลายๆ
สกุลที่มีลักษณะคล้ายคลึงกันเข้าไว้ด้วยกันเป็นกลุ่มเดียวกัน
(คือวงศ์เดียวกันนั่นเอง) |
|
|
ย้อนกลับ
|
|
|
|
|
ไฮเปอร์เท็กซ์โมเดลของ Dexter
ไฮเปอร์เท็กซ์
เป็นเทคโนโลยีของการอ่านและการเขียนที่ไม่เรียงลำดับเนื้อหา
โดยมีข้อความที่เป็นตัวอักษร ภาพกราฟิก และเสียง เรียกว่า โหนด (Node)
ที่เชื่อมต่อกันเป็นระบบ
ในการใช้งานผู้ใช้หรือผู้อ่านสามารถเคลื่อนที่จากโหนดหนึ่งไปยังอีกโหนดหนึ่งได้โดยการเชื่องโยงโหนดเหล่านั้นหรือโดยการสร้างโหนดขึ้นมาใหม่
ไฮเปอร์เท็กซ์โมเดลของ Dexter
แบ่งโครงสร้างออกเป็น 3 ส่วน
-
Within
Component Layer : เป็นส่วนที่เก็บรายละเอียดของข้อมูลทางกายภาพ
(Physical Contents)
เกี่ยวกับส่วนประกอบของมัลติมีเดีย บรรจุอยู่ในส่วนประกอบของ
Hypertext Network
-
Storage Layer
: จัเป็นส่วนประกอบหลักของโมเดล เป็นส่วนที่เก็บข้อมูล (Database)
ต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นรูปภาพ ฟิลด์ข้อมูล
หรือปุ่มที่นำมาจัดเรียงอยู่ในโหนด (Node)
-
Runtime Layer
: แนวคิดพื้นฐานของเลเยอร์นี้คือ
Instantiation
ของส่วนประกอบซึ่งเป็นส่วนที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างหนึ่งอย่างใด
หรือทันทีทันใดเพื่อเป็นการแสดงการตอบสนองกันระหว่างผู้ใช้และโปรแกรม (User
Interaction)
นอกจากนั้นยังมีชั้น Anchoring และ
Presentation Specification
ที่เป็นอินเตอร์เฟสระหว่างเลเยอร์ต่างๆ ในโมเดลของ
Dexter
|
|
|
|
แบบจำลองข้อมูลเชิงวัตถุ (Object-Oriented Data Model)
จะอาศัยแบบจำลองที่มีชื่อว่า Semantic Model
เนื่องจากแบบจำลองนี้
มีรูปแบบที่สามารถอธิบายถึงโครงสร้างข้อมูลของระบบฐานข้อมูลแบบ
Object-oriented
ซึ่งจะอยู่ในรูปของข้อความที่ใช้อธิบายถึงคุณลักษณะต่างๆ ของ
Attribute เช่น รูปแบบของข้อมูล
Domain ของ Attribute
ข้อจำกัดของ Attribute ที่เกี่ยวข้องกัน
Attribute ที่ทำหน้าที่เป็น
Key ฯลฯ เป็นต้น
ต่อมาได้มีผู้พัฒนาเป็นลำดับด้วยการนำรูปภาพมาใช้แทน
|
|
|
|